นกร้อง 3 พยางค์ชัดเจนหรือมากกว่านั้น นับ 1 คะแนน
ในรอบคัดนก ทางผู้จัดจะใช้ราวทั้งหมด คือ 1 ล็อค แขวนนกทั้งหมด 4 แถว เท่ากัน 16 ตัวภายใน 4 ยก หากนกท่านใดร้องครบ 8 ดอก กรรมการจะทำการพับบัตรเพื่อรอเข้าชิงทันที หากนกท่านใด ไม่ถึง 8 ดอก จะถูกคัดออก โดยกรรมการจะเป็นผู้ยกนกลงให้เอง เพื่อป้องกันความวุ่นวายที่จะเกิดขึ้น
การให้คะแนน
-เพลง 3 พยางค์ ได้ 1 คะแนน
ในรอบคัดนก ทางผู้จัดจะใช้ราวทั้งหมด คือ 1 ล็อค แขวนนกทั้งหมด 4 แถว เท่ากัน 16 ตัวภายใน 4 ยก หากนกท่านใดร้องครบ 8 ดอก กรรมการจะทำการพับบัตรเพื่อรอเข้าชิงทันที หากนกท่านใด ไม่ถึง 8 ดอก จะถูกคัดออก โดยกรรมการจะเป็นผู้ยกนกลงให้เอง เพื่อป้องกันความวุ่นวายที่จะเกิดขึ้น
การให้คะแนน
-เพลง 3 พยางค์ ได้ 1 คะแนน
-เพลง 4 พยางค์ ได้ 1 คะแนน
-เพลง 5 พยางค์ ได้ 1 คะแนน
-เพลง 6 พยางค์ ได้ 1 คะแนน
-เพลง 7 พยางค์ ได้ 1 คะแนน
-เพลง 8 พยางค์ ได้ 1 คะแนน
*กรณีนกริก ในยกคัดนก พับเบอร์รอเข้ารอบชิง และกรณีเพลงเบิ้ล อยู่ที่ดุลยพินิตของกรรมการ
กติกาของภาคใต้ อาจจะไม่เหมือนกับกติกาของทั่วไปบ้าง ซึ่งเป็นกติกาที่ใช้กันมาโดยตลอด
ที่สำคัญกรรมการสามารถชี้แจงเหตุผลให้กับเจ้าของนกได้ทราบว่า นกมีเพลงเบิ้ลชัดเจนมากแค่ไหน
โดยทั่วไป นกร้องเพลงยาว มักมีปัญหา เพราะเจ้าของนกมักบอกว่า "นกมีเพลงเบิ้ล"
ส่วนนกร้องเพลงสั้น ต้องเป็น 3 พยางค์ขึ้นไป หากเป็นเพียงการบ่น จะไม่ได้คะแนน
ในรอบชิง ทางผู้จัดจะใช้ราวเพียงสองแถว แขวนราวคู่ใน 1 คือ 1 ล็อค แขวนนกทั้งหมด 2 แถว เท่ากัน 8 ตัว กรรมการจะเข้านกล่ะ 2 ครั้ง คะแนนรวม สองกรรมการ นกใดมีจำนวนดอกมากที่สุด ถือเป็นผู้ชนะ
*กรณีนกริก ในยกชิง ริกครั้งแรก +3 ครั้งถัดไป +1 แต่ในบางสนาม ทุกๆครั้งที่นกริก จะได้ +3 เสมอ
ในรอบชิง ทางผู้จัดจะใช้ราวเพียงสองแถว แขวนราวคู่ใน 1 คือ 1 ล็อค แขวนนกทั้งหมด 2 แถว เท่ากัน 8 ตัว กรรมการจะเข้านกล่ะ 2 ครั้ง คะแนนรวม สองกรรมการ นกใดมีจำนวนดอกมากที่สุด ถือเป็นผู้ชนะ
*กรณีนกริก ในยกชิง ริกครั้งแรก +3 ครั้งถัดไป +1 แต่ในบางสนาม ทุกๆครั้งที่นกริก จะได้ +3 เสมอ
เพลงที่เหมาะสมสำหรับกติกานับดอก
เพลงที่เหมาะสมสำหรับกติกานับดอก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น